บทความ

การเรียนรู้ของผู้ใหญ่

1.  สิ่งที่ผู้ใหญ่ต้องการเรียนรู้     1.1 เพื่อพัฒนาทักษะใหม่ ๆ     1.2 ต้องการข้อมูลใหม่ ๆ     1.3 เติมเต็มความปรารถนาใหม่ ๆ     1.4 ปรับปรุงสมรรถนะในอาชีพ 2.  ทำอย่างไรจึงจะช่วยให้เขาบรรลุความสำเร็จ?     2.1 ต้องการแนวทางปฏิบัติที่สามารถนำไปใช้ได้ทันทีทันใด 3.  สิ่งที่เรียนรู้นั้นเกี่ยวข้องกับเขาอย่างไร?     3.1 เขาต้องการได้รับประสบการณ์ในทักษะที่เขาสามารถใช้ได้ในปัจจุบัน 4.  วิทยากรหรือครูจะทำสิ่งนี้ได้อย่างไร?     4.1 ผู้ใหญ่จะทำงานได้ดีที่สุดเมื่อเขาได้ปฏิบัติในสิ่งที่เรียนรู้ได้     4.2 วางแผนซ้ำ ๆ จะเป็นการสร้างโอกาสในการฝึกทักษะ 5.  ผู้ใหญ่ชอบความหลากหลายของกิจกรรมเพื่อช่วยให้เขามีส่วนร่วมในการเรียนรู้        เพื่อช่วยให้ผู้ใหญ่ไม่หมดกำลังใจหรือท้อใจ จงนำเสนอโอกาสที่ระบุถึงเป้าหมาย     ที่บรรลุความสำเร็จในสิ่งที่เกี่ยวข้องก้บการเรียนรู้ เรียบเรียงจากการแปลจาก KroofConsulting

ทฤษฎีแรงจูงใจว่าด้วย CANE

รูปภาพ
การรับรู้ความสามารถ - สมรรถภาพแห่งตน X ผลกระทบทางอารมณ์ - (อารมณ์ที่ทำให้พฤติกรรมเบี่ยงเบน)X คุณค่าของงาน                                                              (อารมณ์ที่ไม่มีผลต่อการกระทำ)   ที่ทำ(ความสำคัญของผลประโยชน์) _____________ความผูกพันตามเป้าหมาย         (ความสำคัญของการใช้ประโยชน์)                    (ทางเลือก,การยืนหยัด) The CANE Model Ten predictor variables identified by the CANE Model guided the investigation of the hospitality industry. These included: self-efficacy, agency, emotion, mood, importance, interest, utility, choice, persistence, and effort. Self-Efficacy The belief that one can organize and execute courses of action to obtain desired goals (Bandura, 1997). Can I Do This? Do I Have What It Takes? Agency The belief that you will be supported in doing a task or allowed to perform the task in accordance with your goals. Will I Be Permitted To Do This and Be Supported? Can I Do This Under These Circumstances/Conditio

e_RMUTT ตอนที่ 7 เรื่องการจูงใจ 7/8

รูปภาพ

วิทยาลัยทองสุขกับการบริการวิชาการสังคม เรื่องการบริหารทรัพยากรมนุษย์ 5/8

รูปภาพ

การทำงานที่พิสูจน์แล้ว 10 ประการในการเป็นผู้นำที่มีผลงาน โดย J.D. Meier.

การปฏิบัติที่พิสูจน์แล้ว 10 ประการในการเป็นผู้นำที่มีผลงาน โดย J.D. Meier.            ภาวะผู้นำเป็นอากัปกริยาของผู้นำที่มีประสิทธิผลเป็นศิลปะอย่างหนึ่ง   ส่วนที่เป็นศิลปะก็ต่อเมื่อคุณใช้ประสบการณ์และการตัดสินใจของคุณประยุกต์ในการปฏิบัติงานที่ พิสูจน์แล้วว่าสถานการณ์นั้นเป็นสิ่งที่คุณผลิตผลงานได้อย่างดี           ขณะที่คุณสามารถขยับปีกอย่างสม่ำเสมอ หรือมีโชคในความสำเร็จ   คุณสามารถใช้รูปแบบและการปฏิบัติงานที่ค้นพบทางลัดและทำให้คุณประสบความสำเร็จซ้ำแล้วซ้ำเล่ามากขึ้น               ในฐานะที่เป็นผู้จัดการโครงการหลักที่บริษัทไมโครซอฟท์ผมเคยนำทีมกระจายทั่วโลกมานานกว่าสิบปี ผมชอบที่จะคิดว่าบทบาทของผู้จัดการโครงการเป็นผู้ประกอบการด้านเทคนิคที่มีการผสมผสานที่น่าสนใจของลูกค้าธุรกิจและมุมมองทางเทคนิค           ใน ฐานะที่เป็นผู้จัดการโครงการ , งานของข้าพเจ้าคือการแบบการะความท้าทายที่ยิ่งใหญ่ในการสร้างทีมงานของที่ชาญฉลาดและผลักดันโครงการจากหลุมฝังศพ ที่รวมทุกอย่างจากการสร้างวิสัยทัศน์และขอบเขตการดำเนินโครงการที่นำไปผ่านการเริ่มต้นการวางแผน,การควบคุมฐและขั้นตอที่กำลังจบโครงการ     

ผุ้นำที่ประสบความสำเร็จสูงสุดปฏิบัติตน 15 ประการได้อย่างอัตโนมัติ

             ภาวะผู้นำคือพฤติกรรมที่ได้เรียนรู้ที่มาจากจิตใต้สำนึกและเป็นไปโดยอัตโนมัติตลอดเวลา   ตัวอย่างเช่นผู้นำสามารถตัดสินใจในเรื่องสำคัญเกี่ยวกับประเด็นปัญหาในเวลาที่ทำให้คนอื่นเข้าใจโจทย์   คนส่วนมากมักแปลกใจว่าผู้นำรู้ถึงวิธีการตัดสินใจที่ดีที่สุด ภายใต้แรงกดดันมากมาย   กระบวนการตัดสินใจเกิดจากการสั่งสมประสบการณ์และการเข้าถึงสถานการณ์ที่มีความแตกต่างอย่างท่วมท้น   รูปแบบบุคลิกภาพและความล้มเหลวที่ยังไม่เคยเห็นมาก่อน  ยิ่งกว่านั้นการตัดสินใจกระบวนการตัดสินใจยังก่อให้เกิดการเข้าใจผิดของสิ่งที่คุ้นเคยกับสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นของรูปแบบพฤติกรรมและสถานการณ์ การรู้อย่างมีปัญญาและการเชื่อมต่อจุดสำคัญของตัวแปรที่เกี่ยวข้องในรูปแบบที่ทำให้ผู้นำมีความเชื่อมั่นในการตัดสินใจและการคาดการณ์ล่วงหน้าถึงความเป็นไปได้ของผลสำเร็จตามที่ต้องการ       ผู้นำที่ประสบความสำเร้จส่วนมากเป็นผู้ตัดสินใจที่มีสัญชาติญาณ  ทำให้ได้รับความสำเร็จมากมายตลอดเส้นทางอาชีพ   พวกเขาจะมีภูมิคุ้มกันต่อแรงกดดันที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจและมีแรงดลใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับการสร้างการตัดสินใจที่ดีที่สุดแ ละมีกลยุทธ์มา

สรุปผลการวิจัยบทบาทวิชาชีพนักบริหารทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐและภาคเอกชนแตกต่างกันจริงหรือไม่

เป็นผลงานวิจัยที่กระทำในประเทศสหรัฐอเมริกา โดย Patrick A. Simpkins โดยตั้งคำถามการวิจัยดังนี้    1. บทบาทการบริหารทรัพยากรมนุษย์ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนเหมือนกันหรือไม่         คำตอบ:  ยืนยันว่าไม่เหมือนกัน    2. องค์การทุกองค์การควรสนับสนุนให้มีฝ่ายที่ทำหน้าที่ในด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ซึ่งบางองค์การมองข้ามไปเช่นเดียวกับการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) และต้องสนับสนุนแนวทางในการกำหนดภารกิจและกลยุทธ์ขององค์การ    3. บทบาทการบริหารทรัพยากรมนุษย์ระหวางภาครัฐและภาคเอกชนมีลักษณะที่เหมือนกันมากกว่ามีความแตกต่างกันและควรจะรณรงค์ให้มีการแบ่งปันข้อมูลและความรู้เพื่อศึกษาถึงเป้าประสงค์    4. ข้อสรุปบทบาทเพิ่มเติมก็คือการรวมกิจการเข้าด้วยกันซึ่งควรนำเสนอในการศึกษาวิจัยในอนาคต    5. การเพิ่มคุณค่าสำหรับนักบริหารทรัพยากรมนุษย์นั่นก็คือต้องเข้าใจบทบาทที่แสดงในปัจจุบันและในอนาคตเพื่อทำให้บทบาท HR มีวิสัยทัศน์และภารกิจขององค์การที่ก้าวไปข้างหน้า    6. ผู้บริหารทรัพยากรมนุษย์ต้องใช้เวลาและทรัพยากร และแบบสอบถามส่วนบุคคลเพื่อกำหนดสิ่งที่เป็นโอกาสในอนาคตเพื่อการขยายการนำไปใช้ในโลกที่มี