บทความ

การทำงานที่พิสูจน์แล้ว 10 ประการในการเป็นผู้นำที่มีผลงาน โดย J.D. Meier.

การปฏิบัติที่พิสูจน์แล้ว 10 ประการในการเป็นผู้นำที่มีผลงาน โดย J.D. Meier.            ภาวะผู้นำเป็นอากัปกริยาของผู้นำที่มีประสิทธิผลเป็นศิลปะอย่างหนึ่ง   ส่วนที่เป็นศิลปะก็ต่อเมื่อคุณใช้ประสบการณ์และการตัดสินใจของคุณประยุกต์ในการปฏิบัติงานที่ พิสูจน์แล้วว่าสถานการณ์นั้นเป็นสิ่งที่คุณผลิตผลงานได้อย่างดี           ขณะที่คุณสามารถขยับปีกอย่างสม่ำเสมอ หรือมีโชคในความสำเร็จ   คุณสามารถใช้รูปแบบและการปฏิบัติงานที่ค้นพบทางลัดและทำให้คุณประสบความสำเร็จซ้ำแล้วซ้ำเล่ามากขึ้น               ในฐานะที่เป็นผู้จัดการโครงการหลักที่บริษัทไมโครซอฟท์ผมเคยนำทีมกระจายทั่วโลกมานานกว่าสิบปี ผมชอบที่จะคิดว่าบทบาทของผู้จัดการโครงการเป็นผู้ประกอบการด้านเทคนิคที่มีการผสมผสานที่น่าสนใจของลูกค้าธุรกิจและมุมมองทางเทคนิค           ใน ฐานะที่เป็นผู้จัดการโครงการ , งานของข้าพเจ้าคือการแบบการะความท้าทายที่ยิ่งใหญ่ในการสร้างทีมงานของที่ชาญฉลาดและผลักดันโครงการจากหลุมฝังศพ ที่รวมทุกอย่างจากการสร้างวิสัยทัศน์และขอบเขตการดำเนินโครงการที่นำไปผ่านการเริ่มต้นการวางแผน,การควบคุมฐและขั้นตอที่กำลังจบโครงการ     

ผุ้นำที่ประสบความสำเร็จสูงสุดปฏิบัติตน 15 ประการได้อย่างอัตโนมัติ

             ภาวะผู้นำคือพฤติกรรมที่ได้เรียนรู้ที่มาจากจิตใต้สำนึกและเป็นไปโดยอัตโนมัติตลอดเวลา   ตัวอย่างเช่นผู้นำสามารถตัดสินใจในเรื่องสำคัญเกี่ยวกับประเด็นปัญหาในเวลาที่ทำให้คนอื่นเข้าใจโจทย์   คนส่วนมากมักแปลกใจว่าผู้นำรู้ถึงวิธีการตัดสินใจที่ดีที่สุด ภายใต้แรงกดดันมากมาย   กระบวนการตัดสินใจเกิดจากการสั่งสมประสบการณ์และการเข้าถึงสถานการณ์ที่มีความแตกต่างอย่างท่วมท้น   รูปแบบบุคลิกภาพและความล้มเหลวที่ยังไม่เคยเห็นมาก่อน  ยิ่งกว่านั้นการตัดสินใจกระบวนการตัดสินใจยังก่อให้เกิดการเข้าใจผิดของสิ่งที่คุ้นเคยกับสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นของรูปแบบพฤติกรรมและสถานการณ์ การรู้อย่างมีปัญญาและการเชื่อมต่อจุดสำคัญของตัวแปรที่เกี่ยวข้องในรูปแบบที่ทำให้ผู้นำมีความเชื่อมั่นในการตัดสินใจและการคาดการณ์ล่วงหน้าถึงความเป็นไปได้ของผลสำเร็จตามที่ต้องการ       ผู้นำที่ประสบความสำเร้จส่วนมากเป็นผู้ตัดสินใจที่มีสัญชาติญาณ  ทำให้ได้รับความสำเร็จมากมายตลอดเส้นทางอาชีพ   พวกเขาจะมีภูมิคุ้มกันต่อแรงกดดันที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจและมีแรงดลใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับการสร้างการตัดสินใจที่ดีที่สุดแ ละมีกลยุทธ์มา

สรุปผลการวิจัยบทบาทวิชาชีพนักบริหารทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐและภาคเอกชนแตกต่างกันจริงหรือไม่

เป็นผลงานวิจัยที่กระทำในประเทศสหรัฐอเมริกา โดย Patrick A. Simpkins โดยตั้งคำถามการวิจัยดังนี้    1. บทบาทการบริหารทรัพยากรมนุษย์ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนเหมือนกันหรือไม่         คำตอบ:  ยืนยันว่าไม่เหมือนกัน    2. องค์การทุกองค์การควรสนับสนุนให้มีฝ่ายที่ทำหน้าที่ในด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ซึ่งบางองค์การมองข้ามไปเช่นเดียวกับการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) และต้องสนับสนุนแนวทางในการกำหนดภารกิจและกลยุทธ์ขององค์การ    3. บทบาทการบริหารทรัพยากรมนุษย์ระหวางภาครัฐและภาคเอกชนมีลักษณะที่เหมือนกันมากกว่ามีความแตกต่างกันและควรจะรณรงค์ให้มีการแบ่งปันข้อมูลและความรู้เพื่อศึกษาถึงเป้าประสงค์    4. ข้อสรุปบทบาทเพิ่มเติมก็คือการรวมกิจการเข้าด้วยกันซึ่งควรนำเสนอในการศึกษาวิจัยในอนาคต    5. การเพิ่มคุณค่าสำหรับนักบริหารทรัพยากรมนุษย์นั่นก็คือต้องเข้าใจบทบาทที่แสดงในปัจจุบันและในอนาคตเพื่อทำให้บทบาท HR มีวิสัยทัศน์และภารกิจขององค์การที่ก้าวไปข้างหน้า    6. ผู้บริหารทรัพยากรมนุษย์ต้องใช้เวลาและทรัพยากร และแบบสอบถามส่วนบุคคลเพื่อกำหนดสิ่งที่เป็นโอกาสในอนาคตเพื่อการขยายการนำไปใช้ในโลกที่มี

ผู้นำอาเซียนตามทัศนะของเดฟ อูลริช และโรเบอร์ต ซัตตัน

   เดฟ อูลริช (Dave Ulrich)และโรเบอร์ต ซัตตัน (Robert Sutton)ในบทความที่ชื่อว่า What Effecitve Leader in Asia Know and Do กล่าวถึงภาวะผู้นำของเอเซียใน 70 กว่าปีที่ผ่านมามีความล้มเหลวทางเศรษฐกิจจากการมีภาวะผู้นำที่ล้มเหลวซึ่งได้แก่ ก. การมองแยกส่วนออกจากสังคมโดยรวม ซึ่งหมายถึงการพายเรือแบบไม่มีหางเสือในการไม่ได้เชื่อมโยงกับการให้การบริการ ข. ไม่ได้อุทิศตัวเองอย่างเพียงพอกับการว่าจ้าง,การเป็นเจ้าภาพ,และการนำที่มีผลจากรายงานโดยตรง ค. ไม่รับฟังความคิดใหม่ ๆ ด้วยการยินยอมตามอิทธิพลขอ งผู้อื่น ง. แสวงหาคำแนะนำและความคิดเห็นเพียงแต่บุคคลที่เห็นด้วยกับผู้บริหาร และรับฟังข่าวดีของพวกเขา จ. มีแนวโน้มเอียงที่จะเอาใจตนเองเป็นที่ตั้ง และเห็นแก่ตัวมากกว่าบริการคนอื่น และการมองคนอื่นเป็นศูนย์กลาง ฉ. ปฏิบัติงานโดยมองผลระยะสั้น ๆ เช่นกำหนดเป้าหมายเป็นไตรมาสมากกว่าการสร้างแรงดลใจที่ใช้ความยั่งยืนในระยะยาว ช. ไม่ได้อุทิศเวลาเพื่อสร้างความเข้าใจในรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจเรื่องสำคัญ ๆ ซ. ย้ำเน้นการบริโภค ในการเปรียบเทียบกับผู้อื่นมากกว่าการผลิต และการแสวงหาความสำเร็จในผู้อื่น ฌ. ไม่สามารถอ่าน

กำหนดการอบรมพระกรรมฐานฟรี และ/หรือเรียนภาษาต่างประเทศ ที่วัดพุทธชินวงศ์วราราม คลองหลวง คลองหก จ.ปทุมธานี

                     สำหรับผู้สนใจที่จะปฏิบัติธรรม พร้อมกับเรียนภาษาต่างประเทศ ที่วัดพุทธชินวงศ์วราราม  ต.คลองหก อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี เพื่อเสริมบารมีให้กับตนเองและครอบครัวและได้รับความรู้ภาษาต่างประเทศและความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ สำหรับเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา, มัธยมศึกษา และระดับปริญญา รวมถึงผู้ทำงานในสาขาอาชีพต่าง ๆ (สำหรับค่าเล่าเรียนพร้อมหนังสือคนละ 300บาทสำหรับเด็กเล็ก สำหรับเด็กโตคนละ 500 บาท และรายได้ส่วนหนึ่งนำไปเป็นเงินบริจาคเพื่อบำรุงพระพุทธศาสนา)   รุ่นหนึ่งประมาณ 30-50 คน  หรือสำหรับคนกลุ่มเล็ก ๆ ก็ได้         โดยใช้เวลาอบรม 3 วัน  โดยห้างร้าน,บริษัท,โรงงาน, ส่วนราชการ,แท๊กซี่ ฯลฯ หรือมาเป็นครอบครัวสามารถแสดงความจำนงได้โดยจองล่วงหน้าได้   สำหรับกำหนดการทั่วไปมีดังนี้                                                                       กำหนดการ 3 วัน 2 คืน       เวลา                       กิจกรรม        วันศุกร์  18:00-20:00 น .  -ญาติโยมที่จองสำหรับเดินทางมาที่วัดพุทธชินวงศ์วราราม คลองหลวง                                         จ.ปทุมธานี มาถึงวั

ปัญหา แนวทางในการปรับปรุง และข้อเสนอแนะในการปฏิรูประบบสหกรณ์ จากแนวคิดของศูนย์นวัตกรรมเพื่อสังคมและการมีส่วนร่วม

ปัญหาระบบสหกรณ์ของไทย      1. สหกรณ์ของไทยอยู่ภายใต้ระบบราชการ ทำให้แนวคิดไม่เป็นอิสระ และยังขาดความไว้วางใจในการเข้าร่วมสมาชิกสหกรณ์      2. ขาดการบูรนาการสหกรณ์เนื่องจากมีการจำกัดประเภท ไม่ยืดหยุ่น และวาระการดำรงตำแหน่งเพียง 2 ปี ทำให้การดำเนินงานขาดความต่อเนื่อง      3. สหกรณ์ไม่สามารถจัดตั้งเป็นธนาคารได้ ทำให้ไม่สามารถระดมเงินฝากหรือกู้เงินโดยบุคคลภายนอกได้      4. หน่วยงานที่ดูแลขาดความชัดเจน และความโปร่งใส      5. ปัญหาการบริหาร มุ่งกำไรเป็นตัวเลข ขาดมุมมองที่ให้ความเป็นอยู่ที่ดีของสมาชิก      6. ขาดผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการเงิน, สินเชื่อ,การลงทุน และความเสี่ยง แนวทางแก้ปัญหา: การปฏิรูประบบสหกรณ์เพื อสังคม และความยั งยืน ยุทธศาสตร์ระยะสั3น นวัตกรรมและนโยบายที เริ มได้ทันทีด้วยความร่วมมือหลายภาคส่วน มาตรการ • แก้กฎกระทรวงเรื องประเภทของสหกรณ์ - แก้ไขให้จัดตั งชุมนุมสหกรณ์หลายประเภทได้ เพื อตอบสนองความต้องการเชิงพื นที (ได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสร้างเสริมกิจการเพื อสังคมแล้ว และกําลังอยู่ในขั นตอน ประสานงานกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์) • ประสานทางคณะกรรมการพั

      ทิศทางการปฏิรูประบบสหกรณ์ไทย โดย ศจ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์

                              ทิศทางการปฏิรูประบบสหกรณ์ไทย โดย ศจ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ ที่ผ่านมาบทบาทของสหกรณ์ลดน้อยถอยลง แม้ว่ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปี พ.ศ.2540 ได้กำหนดให้รัฐบาลให้การส่งเสริมระบบสหกรณ์ แต่รัฐบาลที่ผ่านมาไม่ใคร่ได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาระบบสหกรณ์มากนัก การที่รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันกำหนดให้รัฐบาลส่งเสริมระบบสหกรณ์เช่นเดียวกัน จึงไม่ได้เป็นหลักประกันว่า ระบบสหกรณ์จะได้รับความสนใจจากฝ่ายรัฐบาล ดังนั้นระบบสหกรณ์จึงจำเป็นต้องเร่งปรับตัวและพัฒนาตนเองให้สามารถแข่งขันกับภาคธุรกิจอื่น ๆ ได้ โดยผมขอเสนอแนวทางปฏิรูประบบสหกรณ์ดังนี้ ทำให้สหกรณ์เป็นกระแสหลักของการพัฒนาประเทศ โดยเสริมสร้างความเข้มแข็งและอำนาจต่อรองของกระบวนการสหกรณ์ รวมทั้งสร้างเครือข่ายกับนักการเมือง ข้าราชการ นักวิชาการ ภาคเอกชน ผู้นำชุมชน สื่อสารมวลชน และองค์กรต่างประเทศ เพื่อสนับสนุนอุดมการณ์และการดำเนินงานของสหกรณ์ รวมทั้งการสร้างความร่วมมือกับภาครัฐและเอกชนเพื่อทำให้สมาชิกสหกรณ์ได้รับสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นการจูงใจให้ประชาชนเข้าเป็นสมาชิกของสหกรณ์ ตลอดจนผลักดันและพัฒนาให้กระบว