บทความ

โครงการนิวดีลในยุคสมัยประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี.โรสเวลท์มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาอย่างไร?

โครงการนิวดีลในยุคสมัยประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี.โรสเวลท์มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกาอย่างไร?              นโยบายฟัสซิสต์ของประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี โรสเวลท์ได้มีการฟื้นฟูมาเป็นเวลาจากปีที่เศรษฐกิจตกต่ำในปี ค.ศ. 1930 จนกระทั่งมันเกิดขึ้นนานถึงสองเท่าในประวัติศาสตร์    นโยบายที่คล้ายคลึงที่เขาได้พยายามและล้มเหลวยังคงดำเนินการในรัฐวอชิงตันในปัจจุบันนี้   ยกตัวอย่างเช่นประธานาธิบดีโอบามาได้บ่นถึงปัญหาเศรษฐกิจในบรรพบุรุษของเขา  ซึ่งรูสเวลท์กล่าวโทษถึงเฮอร์เบอร์ต ฮูเว่อร์     ความจริงก็คือการวางงานยังคงมีการว่างงานถึง 20 เปอร์เซ็นต์ในปี ค.ศ. 1939  ในเวลาหกปีต่อมารูสเวลท์ได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดี   ลัทธิฟัสซิสต์เป็นลัทธิที่ผู้นำควบคุมรัฐบาล,ทหารและโครงสร้างทางเศรษฐกิจ ซึ่งคิดแบบเดียวกับฮิตเล่อร์ และมุสโสลินี                 คนหลายรุ่นด้วยกันถูกชักนำความเชื่อว่านโยบายนิวดีลของรูสเวลท์จะทำให้สหรัฐอเมริกาพ้นจากวิกฤติเศรษฐกิจที่ตกต่ำ ซึ่งเป็นความเชื่อทั้งหลายและเป็นยุคสมัยที่ผิดพลาด   ตามความเป็นจริงเขาเริ่มต้นกับเราอยู่บนเส้นทางต่อสังคมนิยมแบบแนวคิดเศรษฐศาสตร์ของเคนส์ ซึ่งในปัจจ

การเปรียบเทียบกรอบแนวคิดของมาร์กซ์และรุสโซ่

การเปรียบเทียบกรอบแนวคิดของมาร์กซ์และรุสโซ่           จัง - จ๊าค รุสโซ่ และคารล์มาร์กซ์เคยแบ่งปันด้วยความไม่มั่นใจเกี่ยวกับแผนเสรีภาพที่เรียกร้องจากนักทฤษฎีทางการเมืองโดยจอห์น ล๊อค และโทมาส ฮ็อบส์  จากความไม่แน่ใจเป็นผลมาจากแหล่งที่มาของความคิดที่แตกต่างกัน กล่าวคือ สำหรับรุสโซ่แล้ว ปัญหาก็คือเรื่องที่เกี่ยวข้องเฉพาะทางการเมือง ปัญหาของปัจเจกชนแบบเสรีชนและยินยอมว่าส่วนประกอบของเจ้าของการกำหนดให้มีรัฐบาล   ทางเลือกของแนวคิดรุสโซ่เน้นที่การมีส่วนรวมที่เป็น “เจตน์จำนง”  ข้อวิพากย์ของมาร์กซ์เป็นเรื่องที่ใช้ความรุนแรกมาก  โดยสรุประบบเศรษฐกิจเป็นปัญหาและเป็นการโค่นล้มระบบชนชั้นทางเศรษฐกิจที่รัฐประชาธิปไตยจะสามารถบรรุลความสำเร็จได้   การนำไปสู่เป้าหมายปลายทางแห่งตรรกะเช่นนั้นโดยที่รัฐที่แท้จริงจะสูญสลายไปเพราะว่าทำให้ลักษณะทางเศรษกิจและการเมืองล่มสลาย  สำหรับบทความนี้จะได้นำเสนอสิ่งที่เกี่ยวข้องอย่างลึกซึ้ง สัญญาประชาคมของรุสโซ่           โทมาส ฮ๊อบส์และจอห์น ล๊อคทั้งสองคนจุดความคิดในลักษณะที่คล้ายคลึงกันแต่ขัดแย้งกัน ท้งในด้านสัญญาประชาชาคมและรูปแบบความคิด    สัญญาประชาคมของฮ๊อบส์ได

การคิดใหม่เพื่อความสมเหตุสมผลทางการบริหารงานในสาธารณรัฐประชาธิปไตย (1)

    ผลงานใหม่ที่รจนาจากนักวิชาการซึ่งดูแล้วขัดแย้งกับแนวความคิดเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจและประสิทธิภาพกับวิสัยทัศน์อย่างกว้างขวางของระบบเศรษฐกิจของสังคม และประสิทธิภาพทางสังคมซึ่ง Dwight Waldo ให้ความคิดที่มีชื่อเสียงในสิ่งตีพิมพ์หนังสือที่ชื่อว่า "รัฐบริหาร" (Administrative State)  และเป็นคำถามที่แท้จริงที่เผชิญหน้าในหมู่นักวิชาการและนักปฏิบัติการซึ่งวอลโดมองว่ารัฐมีประสิทธิภาพเพื่ออะไร?  ความคิดที่เป็นเชิงพรรณาและมีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับประสิทธิภาพเป็นสิ่งที่เที่ยงตรงและนำไปใช้ประโยชน์ได้  แต่เพียงว่าอยู่ภายในกรอบความคิดที่ยึดถือค่านิยมอย่างมีจิตสำนึก    วอลโดเพิ่มข้อสังเกตว่าความยุ่งยากในการประเมินประสิทธิภาพเมื่อเกิดสิ่งที่ไม่เห็นด้วยกับค่านิยมที่มีข้อผิดพลาด   ในฐานะที่กรอบอ้างอิงของตัวบุคคลมีขอบเขตกว้างขวางขึ้นและกลับมายุ่งยากและข้อความเกี่ยวกับประสิทธิภาพที่เกี่ยวข้องกับการจัดเตรียมการที่แตกต่างลงกลับมามีความถูกต้องน้อยลง และมีลักษณะตรงกันข้ามสูงขึ้น              สิ่งที่ท้าทายได้ก่อตัวอย่างเด่นชัดมากขึ้นสำหรับผู้จัดการภาครัฐในทศวรรษที่ผ่านมา  บรรพบุรษก่อนหน้านั้นในยุค

การสร้างทีมงานที่ดีแบบ 12 C’s

การสร้างทีมงานที่ดีแบบ 12 C’s           คนที่อยู่ใน สถานที่ทำงาน ทุกคน พูดคุย เกี่ยวกับการสร้าง ทีมงาน ที่ ทำงานเป็นทีม แต่ ไม่กี่ เข้าใจวิธีการ สร้างทีมงาน ประสบการณ์ของ การทำงานเป็นทีม หรือ วิธีการพัฒนาทีมงาน ที่มีประสิทธิภาพ เป็น ทีมใน ความหมายกว้างเป็นผลมาจาก ความรู้สึกที่ เป็นส่วนหนึ่งของ สิ่งที่ใหญ่ กว่าตัวเอง มีจำนวนมาก จะทำอย่างไรกับ ความเข้าใจของภารกิจ หรือ วัตถุประสงค์ขององค์การ ของคุณ            ในสภาพแวดล้อมที่ ทีมงาน ที่มุ่งเน้นคุณ นำไปสู่ ​​ความสำเร็จโดยรวม ขององค์กร คุณทำงาน กับเพื่อน สมาชิกขององค์การที่จะผลิตผลลัพธ์เหล่านี้ ถึงแม้ว่า คุณจะมี ฟังก์ชั่น การทำงาน ที่เฉพาะเจาะจงและ คุณอยู่ใน แผนก ที่เฉพาะเจาะจงคุณต้องการเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับสมาชิกใน องค์การเพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์ โดยรวม ภาพใหญ่   แรงขับเคลื่อนในการกระทำ ของคุณ ทำงานของคุณ ที่มีอยู่เพื่อ ให้บริการ ภาพใหญ่          คุณจำเป็นต้อง แยกความแตกต่าง นี้ ความรู้สึก โดยรวมของ การทำงานเป็นทีม จากงาน ในการพัฒนาทีมงาน ที่มีประสิทธิภาพที่ สมบูรณ์ จะเกิดขึ้น เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายที่เฉพาะเจาะจง   บุคคลมีวั

การวิเคราะห์ Swot Analysis ระหว่างแนวคิดประชาธิปไตยแบบรากหญ้า กับแบบอนุรักษ์นิยม

            การเมืองไทยได้มีการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยที่แท้จริง ได้กำเนิดขึ้นมาตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครองของคณะราษฏร์โดย ดร.ปรีดี พนมยงค์ปรารถนาจะให้มีประชาธิปไตยอย่างแท้จริง แต่การเมืองการปกครองที่ผ่านมากลุ่มชนชั้นแนวอนุรักษ์นิยมได้เข้าครอบครองและกลายเป็นชนชั้นอภิสิทธิ์มาเป็นเวลานาน ยามใดที่ประชาชนได้มีผู้นำที่มาช่วยเหลือให้มีความเข้มแข็งหรือมีการพัฒนาดีขึ้นเมื่อใด ยามนั้นฝ่ายอนุรักษ์นิยมฝ่ายขวาก็จะไม่ชื่นชอบ แต่จะสร้างวาทะกรรมที่หลอกลวงประชาชนให้คลั่งไคล้รูปแบบเก่า ๆ โดยไม่ได้หันมามองสิ่งใหม่ ๆ ที่จะพัฒนาสังคมให้ดีขึ้น ทั้งนี้เป็นการรักษาความได้เปรียบในชนชั้น  และอภิสิทธิ์ต่าง ๆที่มีอยู่อย่างมากมาย แม้แต่กระทั่งกระบวนการกฎหมายก็ไม่มีมาตรฐานเพราะกลายเป็นกฎหมายชนชั้น  ซึ่งเป็นสิ่งที่สังคมที่คนชั้นกลางจำนวนมากก็ลุ่มหลงและอยากมีอภิสิทฺธิ์เหมือนกับคนชั้นสูง  ซึ่งไม่ได้มองไปยังชนชั้นล่าง   สำหรับความแตกต่างระหว่างประชาธิปไตยแบบก้าวหน้าของคนส่วนใหญ่ กับประชาธิปไตยแบบล้าหลังโบราณ มีความแตกต่างอย่างไร ทัศนะความคิด       ประชาธิปไตยของกลุ่มก้าวหน้า                 ประชาธิปไตยของกลุ

แนวคิดของรองประธานกรรมาธิการทัชจานี กับการถกวาทะในการประชุม "เส้นทางการเติบโตสำหรับธุรกิจที่เป็นมิตรกับการบริหารภาครัฐ

         รองประธานกรรมาธิการทัชจานี กับการปาฐกถาวาทะในการประชุม "เส้นทางการเติบโตสำหรับธุรกิจที่เป็นมิตรกับการบริหารภาครัฐ  ที่ชาเลแมกเน่   วันที่ 29 ตุลาคม 2556  เวลา 9.15 - 9.30 น. "สวัสดีท่านสุภาพบุรุษและสุภาพสตรีที่เคารพ  นับว่าเป็นสิ่งที่ผมมีความภูมิใจที่รับเชิญท่านมาในการประชุมในประเด็นซึ่งมีความสำคัญอย่างยิ่ง  กล่าวคือทำอย่างไรจึงจะปฏิรูปการบริหารภาครัฐในยุโรปเพื่อช่วยให้เพิ่มพลังความเติบโตเศรษฐกิจ  ภายใต้ชื่อเรื่องเส้นทางสู่ความเติบโต: เพื่อธุรกิจเป็นมิตรกับการบริหารภาครัฐ"     มีคำสำคัญอยู่สองคำคือ "ความเติบโต" และมิตรภาพในเชิงธุรกิจ  เราจำเป็นที่่จะสืบเรื่องราวย้อนหลังเกี่ยวกับยุโรป เพื่อส่งเสริมให้ความเติบโตทางเศรษฐกิจดีขึ้น และความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นเพื่อธุรกิจและพลเมืองของเรา   หนทางสำคัญในการบรรลุถึงสิ่งนี้ก็คือการทำให้เกิดความมั่นใจว่าบริษัททั้งหลายกำลังดำเนินงานภายใต้สิ่งแวดล้อมทางธรุกิจที่นำเสนอ   พวกเราไม่สามารถเติบโตได้โดยปราศจากการแข่งขัน    รัฐบาลไม่ว่าจะเป็นยุโรป,ระดับชาติหรือระดับภูมิภาค ได้ดำเนินบทบาทสำคัญในกระบวนการนี้   รัฐบาลจำเป็นต้