บทความ

ทักษะการใช้ความคิดในเชิงลึก (Deep thinking skill)

ทักษะการคิดลึก           สิ่งต่อไปนี้เป็นรายการของชนิดของ "คิดลึก" ที่คุณสามารถทำได้ด้วยตัวอย่างของคำถามที่จะต้องพิจารณาว่าเป็นการส่งเสริม และสะท้อนให้เห็นถึงชนิดที่แตกต่างกันเหล่านี้ของทักษะการคิด คุณอาจพิจารณากําหนดและที่อยู่บางส่วนของคำถามเหล่านี้ในบริบทของ journaling หรือการอภิปรายชั้นเรียนของคุณ ไม่เพียงเลือกคำถามใด ๆ ที่สุ่ม เลือกผู้ที่ให้ความรู้สึกในบริบทของวัสดุที่คุณกำลังพิจารณา คำถามที่ได้ระบุไว้ด้านล่างนี้เป็นเพียงข้อเสนอแนะ คุณควรที่จะปรับเปลี่ยนพวกเขาหรือแม้กระทั่งการเขียนของตัวเองที่จะพอดีภายในใด ๆ ของหมวดหมู่ที่ระบุของคุณ         เมื่อเขียนคำถามสำหรับการสะท้อนให้ใช้แนวทางต่อไปนี้:      ถามคำถามที่ไม่มีคำตอบที่ถูกหรือผิด     ถามคำถามที่ขึ้นต้นด้วย "หารือ", "ตรวจสอบ" "อธิบาย", "อธิบาย" หรือ "เปรียบเทียบ"     ถามคำถามที่ติดตาม     ถามคำถามที่มีคำตอบที่เป็นไปได้หลาย     ไม่ต้องถามแคบคำถามที่มุ่งเน้น - ให้คำถามของคุณที่เปิดกว้าง      ไม่ ต้องถามคำถามที่มีความเป็นจริงสำหรับคำตอบ - คำถามคิดลึกหามุมมองก

องค์ประกอบของแบบจำลองในการปฏิบัติการทรัพยากรมนุษย์ที่เป็นเลิศ (Best Practice Model)

               นักวิชาการทางด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่ชื่อว่า Pferrer ได้กล่าวถึงองค์ประกอบสำคัญในของการปฏิบัติงานด้านบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่เป็นเลิศ (Best Practice) คือ                   1. ความมั่นคงในการจ้างงาน (Employment Security)                   2. การคัดเลือกบุคคลากรที่มีความโดดเด่น (Sophisticated selection)                   3. การทำงานเป็นทีมและการกระจายอำนาจ (Team working and Decentralization)                   4. ค่าจ้างที่สูงที่สอดคล้องเชื่อมโยงกับผลงานขององค์การ (High wages linked to organizational performance)                   5. การฝึกอบรมอย่างเข้มข้น (Intensive Training)                   6. การติดต่อสื่อสารและการมีส่วนร่วม (Communication and Involvement)                   7. การแบ่งปันข้อมูลข้อมูลข่าวสารทางการเงินและผลงานอยางเข้มข้นตลอดทั่วทั้งองค์การ (Ahmed and Schroeder: 19)                   ในเรื่องความมั่นคงในการจ้างงาน พบว่าในประเทศญี่ปุ่นให้ความสำคัญในความมั่นคงในการจ้างงานที่เรียกว่า "การจ้างงานตลอดชีพ" (Lifetime Employment) โด

"ทีมข้ามสายงาน" ตอนที่สอง (Cross Funtional Team)

                   ทีมข้ามสายงานนั้นโดยทั่วไป      หาเพียงใช่เหมาะสมในทุกประเภท        ทั้งนี้เป็นส่วนผสมมาจากเหตุ                   จากขอบเขตสมาชิกที่ต่างกัน        ขึ้นอยู่กับธรรมชาติของโครงการ              มาจากฐานกลุ่มบุคคลคิดร่วมฝัน        จุดประสงค์คือเพิ่มพลังเพื่อโรมรัน            ด้วยสร้างสรรค์ริเริ่มและร่วมมือ                    เพื่อมั่นใจแผนกฝ่ายแตกต่างนั้น   คอยด้นดั้นดำรงได้พูดจา        ในโครงการแผนงานที่กล่าวมา                สื่อภาษาร่วมกันในจุดหมาย        ทีมข้ามสายงานลดขนาดแรงงาน             และมุ่งการกลยุทธ์ลดรายจ่าย        รวมรวมงาน,ติดตามผลอย่างท้าทาย          สิ่งมุ่งหมายเทคโนโลยีใหม่                     ตลอดทั่วองค์การอย่างแพร่หลาย  ปรับปรุงง่ายโดยห่วงโซ่อุปทาน        ที่มุ่งเน้นโซ่กำไรบริการ                           การสืบสานนำใช้่ทีมดังกล่าว        อยู่ในการออกแบบและพัฒนา                   ในสินค้าแบบใหม่เมื่อถึงคราว        กระบวนคิดสร้างสรรค์อย่างยืนยาว             จำโน้มน้าวนำทักษะ,กรอบแนวคิด                    ความหลากหลายและร่วมมือเมื่อสืบสาว 

ทีมข้ามสายงาน (Cross Functional Team) ตอนที่หนึ่ง

             ทีมข้ามสายงานนั้นคืออะไร?    คือกลุ่มในสมาชิกบุคคล  มีพื้นฐานแตกต่างในตัวตน                   โดยเพิ่มผลเชี่ยวชาญและหน้าที่  เพื่อวัตถุประสงค์ที่แบ่งปัน                    ที่เรียกกันว่าทีมหลากหลายนี้  เช่นทีมงานขาย,ตลาด,การเงินมี            อีกทีมที่สำคัญคือวิศวะ              และบริการลูกค้าเป็นอย่างดี      นอกจากนี้ยังแตกต่างที่กล่าวมา  เช่นเพศ,อายุ,เชื่้้อชาติ,ศาสนา              สิ่งนำพาความเชื่อ,วัฒนธรรม  จุดกำเนิดทีมข้ามสายงานนั้น                กำเนิดฝันเมื่อเริ่มการกระทำ  กึ่งศตวรรษยี่สิบเมื่อจดจำ                    มุ่งปลุกปล้ำเปลี่ยนแปลงในทีมงาน             เพิ่มยืดหยุ่น,พลังอำนาจย้ำ       มุ่งหมายนำเครือข่าย,ข่าวข้อมูล ในบริบทใหม่ที่ค้ำคูณ                          ที่เพิ่มพูนแทนทีมในหน้าที่ (Fucntional Team) แม้แนวคิดนี้มิใช่ใหม่                           มีการใช้ในองค์การก่อนหน้านี้ คือบริษัทประกันเพื่อชีวี                        ตั้งแต่ปีคอศอหนึ่งเก้าห้าศูนย์             การประยุกต์ทีมข้ามสายงานดี    เผยแพร่มีนำใช้หลายองค์การ เพื่อปลุกเร้านวัตกรร

สาระน่ารู้เกี่ยวกับคน เรื่องความรู้เกี่ยวกับการเลือกคนของซีอีโอ

         -   การคัดคนเป็นเรื่องของซีอีโอ มันเป็นเรื่องสำคัญมาก หากเลือกคนได้ดีแล้วก็สำเร็จไปครึ่งหนึ่งแล้ว   ถือเป็นองค์ความรู้ของซีอีโอ ต้องคัดคนให้แม่นขึ้น  ต้อง lead time ให้น้อยลง         -    AE รับมาค่าแรง 100,000 บาท  Lead time ให้น้อยลง ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น  การคัดเลือกจะลดจากจำนวนมากเหลือการคัดให้น้อยลง  การสกรีนอาจใช้เวลาแป๊ปเดียว  ต้องใช้ efficiency ที่สูงขึ้น   หากเราใช้เวบไซต์อย่างรู้จริงจะลดเวลาได้เร็ว  เป็นการประหยัดเวลาได้มากขึ้น ควรจะมีโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพ  แต่ทีือื่นทำ Auto ให้เป็น efficiency         - การอ่านประวัติส่วนบุคคล หรือ Resume เพราะมองว่าข้อมุลเยอะไป  การดู Resume จะเข้าใจผู้สมัคร  ปัจจุบันมี Resume 600,000 ใบ   เป็นความรู้ค่อนข้างลึก   ซีอีโอควรเรียนเรื่องนี้ เป้นหน้าที่ของ HR   บ่อยครั้งการคัดคนตกอยู่ที่ officer มากไม่มีความเชี่ยวชาญในการมองคนได้ลึก  ดังนั้นซีอีโอควรเข้ามาดู   คิดโครงการอะไรก็อาจจะเหนือคู่แข่งได้        - Super Resume Score Point แปลงเป็น Code สามารถวิเคราะห์ได้ ทำเรตติ้งได้ เป็นระบบสองคอลัมน์        - ต้องรู้ว่าบริษัท

สาระน่าคิดเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ตอนที่ 1

- องค์การส่วนใหญ่มักมองว่าคนเป็นค่าใช้จ่าย (Cost) เช่นรับคน,อบรม,จ่ายค่าตอบแทน ฯลฯ แต่ทำไมไม่มองว่าพนักงานเป็นสินทรัพย์ เช่นเราซื้อคอนโดหรือบ้านถือเป็นสินทรัพย์  เราจะทำมันเต็มที่ - การสกรีนสมรรถนะหลัก (Core Competency)  วิธีการคัดเลือกอาจใช้เข้าแค้มใช้สองวันหนึ่งคืน ดูว่าองค์การต้องการอะไร เช่นต้องการการเรียนรู้, หรือทำงานเป็นทีม  การสัมภาษณ์อาจเป็นการหลอก หรือฝึกมาเป็นอย่างดี   แต่ถ้าเราเข้าแคมป์จะมีตัวชี้วัด เช่นการเล่นเกมส์การทำงานเป็นทีม ทุกคนต้องมีหน้าที่และมีผู้สังเกตการณ์ว่าแสดงออกอย่างไร เขาควบคุมคนสิบคนได้หรือไม่  การเข้าแค้ป์มีอาหารห้ามื้อพัก 1 คืน  เป็นการใช้ชีวิตว่าเป็นอย่างไร? - ต่อมาสัมภาษณ์จะเหลือประมาณ 30 คนจาก 100 คน คนที่สัมภาษณ์จะเป็นคนที่ประเมิน เขาจะรู้ว่าพนักงานเป็นอย่างไร โดยเฉพาะผู้สังเกตการณ์ การสัมภาษณ์จะจึ้จุดอ่อนเลย  แต่จุดเด่นนี้ส่วนใหญ่รู้แล้ว -ขั้นที่สามสัมภาษณ์ให้เหลือ 20 คน  เราจะให้ความเห็น   และรู้ว่าองค์การต้องการอะไร -ขั้นที่สี่ จะตกเหลืออย่างมากเหลือ 15 คน - เมื่อมาอยู่ในองค์การ เราต้องมองว่าคนมีทฤษฎีคือเอ็กซ์และวาย คือเอ็กซ์ใช้ไม้แข็ง ส่วนว

การสอนงาน (Coaching) ตอนที่ 1

             การสอนงานคือเทคนิควิธีการ      นับเป็นงานแนะนำบุคคลากร       นำไปสู่เรียนรู้ใหม่ตามขั้นตอน             ไม่ยอกย้อนเป็นไปตามกรอบเวลา       มีความหมายมากมายการสอนงาน       ล้วนเรียกขานทั้งแตกต่างคำสรรหา       และขัดแย้งวกวนซ้ำไปมา                  นักวิชาโต้แย้งในนามธรรม (Jackson,2005)              แม้นักเขียนวิชาการได้กล่าวว่า     ได้เวลาเปลี่ยนความคิดในแนวใหม่      โดยกล่าวว่าเป็นเรื่องที่ต้องก้าวไกล       และใส่ใจปรับปรุงตามกระแสชล       การ์เว่ย์ (Garvey,2004) ให้นิยามว่าหมายถึง    การคำนึงช่วยเหลือเพื่อบุคคล       จึงกำหนดนิยามใหม่ในบัดดล              เพื่อมุ่งผลใกล้เคียงเป็นเสียงเดียว              คำเอสเปอรันโต้ที่ขุดค้น             มุ่งหวังผลการช่วยเหลือตัวบุคคล      ดุจฉุดคนจากโคลนตมที่เปื้อนปน          เพื่อมุ๋งผลอธิบายขยายความ      เพื่อถ่ายทอดสอนงานไม่อำพราง          เป็นหนทางนำไปสู่สิ่งดีงาม      ก่อเรียนรู้ประสบการณ์ของผู้ตาม           เพื่อก้าวข้ามผลงานเลิศประเสริฐจริง              มีนักเขียนหลายคนเสนอตาม       ว่านิยามที่ปรึกษา (mentoring) เป็นไตเต