การคิดใหม่เพื่อความสมเหตุสมผลทางการบริหารงานในสาธารณรัฐประชาธิปไตย (1)

    ผลงานใหม่ที่รจนาจากนักวิชาการซึ่งดูแล้วขัดแย้งกับแนวความคิดเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจและประสิทธิภาพกับวิสัยทัศน์อย่างกว้างขวางของระบบเศรษฐกิจของสังคม และประสิทธิภาพทางสังคมซึ่ง Dwight Waldo ให้ความคิดที่มีชื่อเสียงในสิ่งตีพิมพ์หนังสือที่ชื่อว่า "รัฐบริหาร" (Administrative State) 
และเป็นคำถามที่แท้จริงที่เผชิญหน้าในหมู่นักวิชาการและนักปฏิบัติการซึ่งวอลโดมองว่ารัฐมีประสิทธิภาพเพื่ออะไร?  ความคิดที่เป็นเชิงพรรณาและมีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับประสิทธิภาพเป็นสิ่งที่เที่ยงตรงและนำไปใช้ประโยชน์ได้  แต่เพียงว่าอยู่ภายในกรอบความคิดที่ยึดถือค่านิยมอย่างมีจิตสำนึก    วอลโดเพิ่มข้อสังเกตว่าความยุ่งยากในการประเมินประสิทธิภาพเมื่อเกิดสิ่งที่ไม่เห็นด้วยกับค่านิยมที่มีข้อผิดพลาด   ในฐานะที่กรอบอ้างอิงของตัวบุคคลมีขอบเขตกว้างขวางขึ้นและกลับมายุ่งยากและข้อความเกี่ยวกับประสิทธิภาพที่เกี่ยวข้องกับการจัดเตรียมการที่แตกต่างลงกลับมามีความถูกต้องน้อยลง และมีลักษณะตรงกันข้ามสูงขึ้น
             สิ่งที่ท้าทายได้ก่อตัวอย่างเด่นชัดมากขึ้นสำหรับผู้จัดการภาครัฐในทศวรรษที่ผ่านมา  บรรพบุรษก่อนหน้านั้นในยุคหลังสงครามเย็นเป็นเจ้าภาพของสิ่งที่นักวิชาการเรียกว่าปัญหานโยบายที่ไม่ดี   ตัวอย่างเช่น ริทท์และเวบเบอร์ (1973)  มีปัญหาเกี่ยวกับนโยบาย เช่นการต่อต้านยาเสพย์ติด, การลดปัญหาการตั้งครรภ์ของวัยรุ่น, ปัญหาเมืองที่เติบโตอย่างรวดเร็วเกินไป,การก่อการร้าย,การเตือนภัยของโลก) ซึ่งเป็นสถานที่ที่ไม่คำจำกัดความเป็นที่ยอมรับกันเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้น  ยิ่งกว่านั้นปัญหาหนึ่งคือการมีความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับคนอื่น,การร่วมมือแบบข้ามภาค (ภาครัฐ,เอกชนและองค์การที่ไม่หวังกำไร) ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญต่อความสำเร็จและในทางกลับกันเป็นหนทางแก้ปัญหาที่ล่อแหลม และยากต่อการนำไปในใช้ในทางปฏิบัติ   ปัญหาที่เลวร้ายมักมีความหลากหลายโดยธรรมชาติ  การแก้ปัญหาต้องการสร้างความสมดุลย์ของความแตกต่างหลากหลายของคุณค่ามากกว่าความโดดเด่นของค่านิยมอื่นใด 
         ในทำนองตรงกันข้ามนโยบายต่าง ๆเหล่านี้เป็นทางเลือกทีท้าทายและเป็นทางเลือกที่มีคุณค่า เป็นเรื่องที่ยกประเด็นคำถามเกี่ยวกับความสามารถของแบบจำลองของระบบราชการแบบดั้งเดิมในการนำมาเผยแพร่   ปัญหาที่เลวร้ายนำไปสู่การแก้ปัญหาในเชิงข้ามสายงานหน้าที่ และข้ามขอบเขตอำนาจศาล ความสามารถในการสร้างความยืดหยุ่นในเชิงกระบวนการ และดุลยพินิจถูกถักทอโดยผู้บริหารงานที่ใกล้ชิดกับสถานการณ์มากที่สุด  การวัดผลสัมฤทธิ์โดยอิงผลลัพธ์ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการนิยามปัญหา และหนทางแก้ปัญหาทั้งสองอย่าง   อย่างไรก็ตามโครงสร้างระบบราชการแบบดั้งเดิมไม่ได้มีข้อสังเกตสำหรับแวดวงลักษณะเด่นเหล่านี้   หน่วยงานแต่ละหน่วยงานจะได้รับการเพิ่มพลังอำนาจในการทำงานกับเจ้าหน้าที่ที่ได้รับเลือกตั้งเพื่อคิดถึงวัตถุประสงค์ใหม่ในการเชื่อมโยงกับพลเมือง และมีการนิยามสิ่งที่เป็นแนวการบริหารแบบดั้งเดิม
              ทำอย่างไรนักรัฐประศาสนศาสตร์ และเจ้าหน้าที่ที่ได้รับเลือกตั้งเป็นพันธมิตรเชิงยุทธศาสตร์ในแง่องค์การ,ระหว่างองค์การ,และข้ามภาคส่วนและสิ่งตอบแทนที่ตระหนักถึงการประหยัด,ประสิทธิภาพ,และประสิทธิผลโดยปราศจากการเสียสละคุณค่าอื่น ๆที่พวกเราหวงแหนในสาธารณรัฐประชาธิปไตย? เซอร์จิโอ เฟอนานเดสจากมหาวิทยาลัยอินเดียน่า และฮอลันเนย์แห่งมหาวิทยาลัยจอร์เจียเลือกสรร 8 บทเรียนสำหรับการปฏิบัติงานจากผู้ใจดี,คนรวย และอยางไรก็ตามมักจะงุนงงกับวรรณกรรมที่เกี่ยวกับความเข้าใจ,การส่งเสริมความก้าวหน้า และการดำรงไว้ซึ่งการเปลี่ยนแปลงองค์การขนานใหญ่  ยิ่งกว่านั้นถึงแม้ว่าผลงานวิจัยครั้งก่อนโดยทั่วไปได้ยึดถือปฏิบัติเป็นเรื่องเด่นในการได้รับผลกระทบเพิ่มเติม   นักประพันธ์ได้ดำเนินในแต่ละปัจจัยในฐานะที่มีปฏิสัมพันธ์กับปัจจัยอื่น ๆ 
               เพื่อตอบสนองต่อการวิเคราะห์เหล่านั้น    แพททริคและเฟรด ทอมป์สันแห่งมหาวิทยาลัยวิลลาเมทท์ได้ให้ความสนใจในส่ิงที่เฟอนานเดสส และไรเน่ยได้ให้ข้อแนะนำในการเปลี่ยนแปลงองค์การขนาดใหญ่  โดยเพิ่มเติมผลงานวิจัยของเขาเองในการหยั่งรู้ของเขาและทฤษฎีบทบาทเพื่อช่วยเหลือและขยายขอบเขตการวิเคราะห์อย่างชัดแจ้ง  พวกเขาวิพากย์ข้อเสนอของนักวิชาการ และการนำข้อเสนอล่วงหน้าแสดงถึงการเห็นชอบจากแนวคิดบนลงล่าง, การจัดการเปลี่ยนแปลงองค์การ   คริสโตเฟอร์มิมห์แห่งสำนักการตรวจสอบภาครัฐยังได้นำบทเรียนของผู้เขียนไปใช้กับนักปฏิบัติการซึ่งเป็นการสังเกตความสอดคล้องของนักวิชาการกับการวิเคราะห์ประสิทธิผลการเปลี่ยนแปลงของการปฏิบัติที่เป็นเลิศของสำนักงานตรวจสอบกิจการรัฐ  เขากระทำอย่างพิถีพิถันในกระบวนการเฉพาะอย่างและความแตกต่างกันเพียงเล็กน้อย ซึ่งผู้เขียนนอกจากจะเน้นให้ความสำคัญในความสำเร็จของการมีส่วนร่วมบุคลากร,ยุทธศาสตร์ทุนมนุษย์, และยุทธศาสตร์การติดต่อสื่อสารกับภายนอก   แมรี่ เชอร์ฮาร์ทแห่งมหาวิทยาลัยืนอร์ทคาโลไรนา   ราลีจช์ยังได้ค้นพบสิ่งที่เป็นคุณธรรมในการวางเงื่อนไขแต่ได้แบ่งปันความกังวลใจให้กับทอมป์สัน และคอนนอร์เกี่ยวกับแนวความคิดแบบจากบนลงช่าง (Top-down perspectives)  หล่อนได้แนะนำว่าการเปลี่ยนแปลงนั้น และการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงสามารถทำได้อย่างเหมาะสมและมีผลวิจัยที่คืบหน้า    หล่อนได้เสนอแนะว่าจุดมุ่งเน้นที่ยิ่งใหญ่กว่าในมิติการเปลี่ยนแปลงระหว่างองค์การสำหรับรัฐที่มีเครือขายในปัจจุบัน
               แผนงานที่ดำรงไว้อย่างมั่นคงเพื่อการคิดใหม่ในการบริหารอย่างสมเหตุสมผลดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการเลือกตั้งในทุกระดับรัฐบาลตลอดสามทศวรรษที่ผ่านมาซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับความพยายามกำหนดระบบรางวัลที่จ่ายตามผลงาน (pay-for-performance system)  ที่มีอยู่ถึงสัญญาที่ผู้แสดงเล่นแง่กับพวกเขาใช่ใหม?   มีทฤษฎีพื้นฐานที่อยู่ภายใต้ความเที่ยงตรงที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว    มีบทเรียนอะไรที่สามารถดึงเอาประสบการณ์เมื่อครั้งก่อนด้วยระบบการจ่ายผลตอบแทนแบบเน้นผลงาน   นายโซ ยุน จุน ที่ปรึกษางานบุคคลในเมืองเซอูล ประเทศเกาหลี   ได้รวบรวมบทเรียนผลวิจัยในการวิเคราะห์แบบหลากหลายประเมินผลเกี่ยวกับระบบการจ่ายค่าตอบแทนเน้นผลงานในสหรัฐเมื่อปี 1977 ถึง 2008  พวกเขาค้นพบประจักษ์พยานที่ว่าแนวทางการจ่ายผลตอบแทนแบบนี้มีผลน้อยมากในหน่วยงานราชการ มีข้อสังเกตว่าเป็นอุปสรรคต่อการรับสมัครงานผู้ที่มีผลงานในภาคสาธารณะ และพิเคราะห์ว่ามีเหตุผลใดที่ดำเนินการภายใต้แวดล้อมโดยเจ้าหน้าที่ราชการ



ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

108 คำคมขงเบ้ง คำคมสอนใจ จากขงเบ้ง

ระบบการเมืองที่ดีเหมือนปลาในอ่างแก้วที่มองเห็นตัวปลาชัดเจน

ตัวแบบงบประมาณผูกพัน (Beyond Budgeting) ตอนที่หนึ่ง