สาระน่ารู้เกี่ยวกับคน เรื่องความรู้เกี่ยวกับการเลือกคนของซีอีโอ

         -   การคัดคนเป็นเรื่องของซีอีโอ มันเป็นเรื่องสำคัญมาก หากเลือกคนได้ดีแล้วก็สำเร็จไปครึ่งหนึ่งแล้ว   ถือเป็นองค์ความรู้ของซีอีโอ ต้องคัดคนให้แม่นขึ้น  ต้อง lead time ให้น้อยลง
        -    AE รับมาค่าแรง 100,000 บาท  Lead time ให้น้อยลง ทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น  การคัดเลือกจะลดจากจำนวนมากเหลือการคัดให้น้อยลง  การสกรีนอาจใช้เวลาแป๊ปเดียว  ต้องใช้ efficiency ที่สูงขึ้น   หากเราใช้เวบไซต์อย่างรู้จริงจะลดเวลาได้เร็ว  เป็นการประหยัดเวลาได้มากขึ้น ควรจะมีโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพ  แต่ทีือื่นทำ Auto ให้เป็น efficiency
        - การอ่านประวัติส่วนบุคคล หรือ Resume เพราะมองว่าข้อมุลเยอะไป  การดู Resume จะเข้าใจผู้สมัคร  ปัจจุบันมี Resume 600,000 ใบ   เป็นความรู้ค่อนข้างลึก   ซีอีโอควรเรียนเรื่องนี้ เป้นหน้าที่ของ HR   บ่อยครั้งการคัดคนตกอยู่ที่ officer มากไม่มีความเชี่ยวชาญในการมองคนได้ลึก  ดังนั้นซีอีโอควรเข้ามาดู   คิดโครงการอะไรก็อาจจะเหนือคู่แข่งได้
       - Super Resume Score Point แปลงเป็น Code สามารถวิเคราะห์ได้ ทำเรตติ้งได้ เป็นระบบสองคอลัมน์
       - ต้องรู้ว่าบริษัทเป็นแบบใหน ตำแหน่งผู้บริหารคุมคนกี่คน ควรมีลูกน้องได้กี่คน
       - ส่วนใหญ่ดูประวัติการทำงาน ว่าผ่านมาอย่างไร โตแค่ใหน?  เขามีประสบการณ์ทีี่แน่นแค่ใหน?
       - เราดู Top Gun Strength ตรงกับสิ่งที่องค์การอย่างไร   เขาเลือกวิสัยทัศน์เขาให้ความหมายว่าอย่างไร?  เช่นถามว่าเขามีวิสัยทัศน์อย่างไร และจุดแข็งนั้นช่วยให้เขาประสบความสำเร็จอย่างไรบ้าง
      - ในการดูงานอดิเรก จะดูรสนิยมว่าเป็นคนแบบใหน เช่นคนชอบฟังดนตรี  คนพรีเซ็นต์แสดงตัวตนในทางบวกเสมอ   งานของเขาต้องการทำแบบใหนเช่นทำคนเดียว หรือเป็นทีม
     - คนทำงานเอชอาร์ ควรเป็นมือาชีพ และใช้องค์ความรู้แบบวิทยาศาสตร์มาใช้ในการตัดสินใจ
     - ชื่อตำแหน่งงานที่ประกาศรับหากไม่ชัดเจน อาจทำให้คนไม่กล้าสมัคร เช่นตำแหน่งวิศวกรขาย ทำให้พนักขายทั่วไปไม่กล้าสมัคร
     - การจัดทำ branding บริษัทเล็กอาจทำได้ดีกว่าบริษัทใหญ่
     - การกำหนดคุณสมบัติน้อยไป ทำให้ผู้สมัครไม่แน่ใจว่าตรงกับคุณสมบัติหรือไม๋?

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ระบบการเมืองที่ดีเหมือนปลาในอ่างแก้วที่มองเห็นตัวปลาชัดเจน

108 คำคมขงเบ้ง คำคมสอนใจ จากขงเบ้ง

ตัวแบบงบประมาณผูกพัน (Beyond Budgeting) ตอนที่หนึ่ง